On Thursday, June 22nd, Thailand Sustainability Academy (TSA) brought about by C asean delivered the course "The Power of One: Taking Action to Reduce GHG Emissions," Batch 2 with the aim of strengthening businesses on the road towards becoming sustainable businesses.
The course was honored by many honorary speakers from leading companies in the TSCN network, such as Thai Beverage Can, BJC, and CPF, as well as a leading consultant on sustainable business development, ERM-Siam, who came to share how to measure and account for greenhouse gas emissions for Scope 1 and Scope 2.
Ms. Kitiya Santaveesuk, Head of Sustainability, Thai Beverage Can Ltd., gave a brief overview of the detrimental effects of climate change (Wake Up Call). Furthermore, she explained how climate change impacts business as well as the risks and possible opportunities.
Ms. Vijitar Supakong, AVP Sustainability and Risk Management Division, Berli Jucker Public PCL, introduced Thailand’s strategic plan to change the climate and reduce greenhouse gases and Thai businesses that committed to supporting NDC (Nationally Determined Contributions). She showcased the various factors contributing to GHG production. On top of that, she presented different countries producing different amounts of greenhouse gases. Also, she introduced the various levels of impact on the supply chain in different countries. She assessed the risks and opportunities for businesses from managing climate change.
Mr. Prasit Vaiyavatjamai, Partner, Corporate Sustainability and Climate Change, ERM-Siam Co., Ltd., provided an overview and importance of GHG Accounting, an approach to GHG Accounting, GHG Accounting Standards and the classification of GHG scoop 1,2,3.
Ms. Jeeranee Janrungautai, Assistant Director of Climate Action for Sustainability Office (Net-Zero), Charoen Pokphand Foods PCL., talked about the Net-Zero trend and Carbon Border Adjustments. She also conceptualized two different terms: Carbon Neutral and Net Zero (1.emit, 2. Reduce 3. Removal). She also talked about the three Scopes: Upstream activities, Reporting companies, and downstream activities, while also explaining the FLAG emissions and removals categories. She gave the way to account for GHG, then ended with the mention of the CPF (coal-free) plan in Thailand’s 2020 and 2022. Her team members, Mr. Teerawat Ram-Indra, PhD, and Luksanaree Maneechot, PhD, also taught to account for Scope 1’s Greenhouse Gas emissions. Firstly, they identified the sources of Greenhouse Gas emissions, then went on to explain the methodology as well as the TGO Emission Factor (EF) Database.
Mr. Sukit Prommuang, Sustainability and Risk Management Sr. Manager, Sustainability and Risk Management Department, Berli Jucker PCL., taught to account for Scope 2’s Greenhouse Gas emissions. First, he explained what Scope 2’s Greenhouse Gas is as well as its source. He also brought a case study to further enrich his explanation.
Lastly, Mr. Atichit Worasaen, Environmental Section Head, and Mr. Krittayot Panyakhong, Sustainability Associate, Thai Beverage Can Ltd., explained the importance of the carbon footprint and case studies. They helped make the difference between the carbon footprint of an organization (CFO) and the carbon footprint of a product (CFP).
เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2566 Thailand Sustainability Academy (TSA) ได้เปิดสอนหลักสูตร “พลังหนึ่งเดียว: การดำเนินการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” รุ่นที่ 2 สำหรับการจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจก Scope 1 และ Scope 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจบนเส้นทางสู่การเป็นธุรกิจที่ยั่งยืน
หลักสูตรนี้ได้รับเกียรติจากวิทยากรกิตติมศักดิ์มากมายจากบริษัทชั้นนำในเครือข่าย TSCN เช่น Thai Beverage Can, BJC และ CPF รวมถึงที่ปรึกษาชั้นนำด้านการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ERM-Siam ที่มาร่วมแบ่งปันวิธีการวัดผลและ บัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสำหรับ Scope 1 และ Scope 2
คุณกิติยา แสนทวีสุข Head of Sustainability บริษัท ไทยเบเวอร์เรจแคน จำกัด
บรรยายสรุปผลกระทบของวิกฤตการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Wake up Call) นอกจากนี้ คุณกิติยายังอธิบายว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อธุรกิจอย่างไร ตลอดจนนำเสนอความเสี่ยงและโอกาสที่เป็นไปได้กับการจัดการเรื่อง Climate Change
คุณวิจิตรา สุภาคง รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารความยั่งยืนเเละความเสี่ยง บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด แนะนำแผนยุทธศาสตร์ประเทศไทยในการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและลดก๊าซเรือนกระจก และภาคธุรกิจไทยที่มุ่งมั่นสนับสนุน NDC (Nationally Defined Contributions) คุณวิจิตราอธิบายปัจจัยต่างๆ ที่เอื้อต่อการผลิตก๊าซเรือนกระจก นอกจากนี้ยังนำเสนอประเทศต่างๆ ที่ผลิตก๊าซเรือนกระจกในปริมาณที่แตกต่างกัน และยังอธิบายระดับต่างๆ ของผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานในประเทศต่างๆ คุณวิจิตรานำเสนอการประเมินความเสี่ยงและโอกาสของธุรกิจจากการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
คุณประสิทธิ์ ไวยาวัจมัย บริษัท อีอาร์เอ็ม-สยาม จำกัด อธิบายภาพรวมและความสำคัญของการทำบัญชี GHG แนวทางการทำบัญชี GHG มาตรฐานการบัญชี GHG และการจำแนกประเภทของ GHG scoop 1,2,3
คุณจีระณี จันทร์รุ่งอุทัย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ด้านการพัฒนาความยั่งยืนองค์กร บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด พูดถึงเทรนด์ Net-Zero และการปรับ Carbon Border และยังได้อธิบายสองแนวคิดที่แตกต่างกันระหว่าง Carbon Neutral และ Net Zero (1. ปล่อย 2. ลด 3. กำจัด) และยังอธิบายเกี่ยวกับ 3 Scope ได้แก่ กิจกรรมต้นน้ำ บริษัทรายงาน และกิจกรรมปลายน้ำ ขณะเดียวกันก็อธิบายเกี่ยวกับหมวดหมู่การปล่อยและการนำออกของ FLAG นอกจากนั้นยังให้แนวทางทำบัญชี GHG แล้วปิดท้ายด้วยการกล่าวถึงแผน CPF (Coal Free) ในปี 2563 และ 2565 ของประเทศไทย พร้อมกันนี้ ดร. ธีรวัฒน์ รามอินทร์ และ ดร. ลักษณารี มณีโชติ ซึ่งเป็นทีมงานของคุณจีระณี ได้สอนเกี่ยวกับการทำบัญชีสำหรับการปล่อยก๊าซเรือนกระจก Scope 1 ประการแรก โดยระบุแหล่งที่มาของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากนั้นอธิบายเกี่ยวกับวิธีการและฐานข้อมูล TGO Emission Factor (EF)
คุณสุกิจ พรหมเมือง ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายบริหารความยั่งยืนเเละความเสี่ยง บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) สอนเรื่องการทำบัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจก Scope 2 และอธิบายเกี่ยวกับความหมายของก๊าซเรือนกระจก Scope 2 รวมถึงแหล่งที่มา พร้อมนำกรณีศึกษามาเสริมคำอธิบาย
จบด้วย คุณอธิจิต วรแสน Environmental Section Head และคุณกฤตยศ ปัญญาคง Sustainability Associate บริษัท ไทยเบเวอร์เรจแคน จำกัด ที่มาอธิบายเกี่ยวกับคาร์บอนฟุตพริ้นท์: ความสำคัญและกรณีศึกษา พร้อมอธิบายให้ผู้เข้าร่วมอบรมเข้าใจความแตกต่างระหว่างคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (CFO) และคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (CFP)
Komentarze